วันศุกร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


วันพุธที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย EAED 2204

เวลาเรียน 8.30 - 12.20 น.


ครั้งที่ 4


 ขอบข่ายคณิตศาสตร์


         จะเจาะจงแค่ขอบข่ายในส่วนของเด็กปฐมวัย เนื้อหาหรือทักษะ ( นิตยาิ  ประพฤติกิจ . ๒๕๔๑ : ๑๔-๑๙)  ดังต่อไปนี้

1. การนับ ( Counting )
  - นับแบบปากเปล่า
  - นับแบบต้องการรู้ค่าจำนวน

2. ตัวเลข ( Number )  เป็นสัญลักษณ์แทนค่าจำนวนและลำดับ  ซึ่งสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์นั้นเรียกว่า "ฮินดูอารบิก" ใช้เพื่อสื่อสาร

3. การจับคู่ ( Matching )  จับคู่ตัวเลข ภาพ ที่มีค่าเท่ากับตัวเลขนั้น  จับคู่จำนวนที่เท่ากัน

4. การจัดประเภท ( Classification ) กำหนดเกณฑ์ สำหรับเด็กๆให้ใช้เกณฑ์เดียว

5. การเปรียบเทียบ ( Comparing ) เพื่อให้รู้ค่า  เช่น สั้น-ยาว หนัก-เบา กว้าง-แคบ

6. การจัดอันดับ ( Ordering ) จัดสิ่งของให้เป็นชุดๆตามคำสั่ง

7. รูปทรงและพื้นที่ (Shap and space ) มีปริมาณ ความจุ ความลึก

8. การวัด ( Measurement ) ต้องอาสัยเครื่องมือ พอวัดแล้วจะได้ค่า ได้จำนวนออกมา

9. เซต ( Set ) ต้องมีความสัมพันธืกันอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เซตของขวัญปีใหม่ เวตครีมบำรุง

10. เศษส่วน ( Faction ) เศษหนึ่งส่วนสอง หรือ ครึ่ง เป็นฐานของเด็กที่จะทำไปสู่เรื่องของเศษส่วน  จะให้เด็กได้รุ้เรื่องเศษส่วนโดยวิธีการแบ่ง   เช่น แบ่งขนมปังครึ่งหนึ่งไปกิน หรือ  1 ชิ้นใน 2 ชิ้น

11. การทำตามแบบหรือลวดลาย ( Patterming ) รูปทรง ตัวเลข เส้น ฝึกให้เด็กฝึกฝนตามแบบและต่อให้สมบรูณ์

12. การอนุรักษ์หรือคงที่ด้านปริมาณ( Comservatioนธืระn) การที่เด็กๆจะบออกสิ่งต่างๆได้ว่าปริมาณเท่ากันแม้รูปร่างจะเปลี่ยนไป คือ เด็กได้ใช้เหตุผลประกอบการอธิบายได้ ซึ่งแสดงว่าเด็กถึงขั้นการอนุรักษ์แล้ว



อาจารย์ เยาวภา  เดชะคุปต์


1. การจัดหลุ่มหรือเซต การจับคู่ 1:1

2. จำนวน 1-10 การฝึกนับ 1-10 จำนวนคู่ จำนวนคี่

3. ระบบจำนวน หรือ ชื่อของตัวเลข  1 = หนึ่ง  2 = สอง

4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซต  เช่น  เซตรวม การแยกเซต

5. คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม คือ การรวม การแยก

ุ6. ลับดับที่ การจัดเรียงลำดับ

7. การวัด

8. รูปทรงเรขาคณิต

9. สถิติและกราฟ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น